สาร THC คืออะไรในใบกัญชามีสาร THC และ CBD ที่แตกต่างกันของแต่ละสายพันธุ์ต่าง ๆ

สาร THC คืออะไร_H1

สาร THC คืออะไร ในอดีต เมื่อมนุษย์รู้จักการสูบกัญชา พวกเขาก็เข้าใจว่ากัญชาทำให้ผ่อนคลาย และ “เก็ทไฮ” ได้ตั้งแต่ยังไม่รู้จักสารของมัน พอภายหลังรู้ว่ามีส่วนประกอบของ THC ก็เริ่มเข้าใจว่าสารนี้แหละทำให้ผ่อนคลาย และยังมีผลต่อระบบประสาท แต่พอศึกษาไปอีก ก็พบว่ามีสาร CBD อีกตัว ที่ช่วยให้ผ่อนคลายเหมือนกัน แต่สารนี้ไม่ส่งผลให้ “เก็ทไฮ” แต่อย่างใด ซึ่งพอยิ่งศึกษาต่อไปเรื่อยๆ ทั้งการเพิ่มปริมาณ (Dose) ของ CBD ให้มากขึ้นไปอีก ก็พบว่าเจ้าสารตัวนี้มันแทบไม่มีผลข้างเคียงต่อร่างกายของมนุษย์ แต่ที่มีผลข้างเคียงของ THC อย่างชัดเจนแทน โดยอาการที่สามารถพบได้ มีตั้งแต่ อาการปากแห้ง กระหายน้ำ หัวใจเต้นเร็ว ตอบสนองช้า ตาแดง หรือความทรงจำลดลง เหล่านี้ล้วนเป็นผลของการได้รับ THC ที่มากเกินไปแทบทั้งสิ้น สารสกัด THC คืออะไร

สาร THC คืออะไร กลับเข้ามาที่ความเหมือนกันของ THC และ CBD

สาร THC คืออะไร CBD คืออะไร ทั้ง 2 สารนี้อยู่ในกลุ่ม “แคนนาบินอยด์” ซึ่งมันไม่ได้มีแต่เฉพาะในกัญชาเท่านั้น แต่มันมีอยู่ในร่างกายของมนุษย์อยู่แล้วด้วย งงไหมแต่เจ้า “แคนนาบินอยด์” (Cannabinoid; CB) ในร่างกายของเรานั้น มันจะทำงานก็ต่อเมื่อผสานเข้ากับ สาร THC คืออะไรพบได้ที่ไหน “ตัวรับแคนนาบินอยด์” หรือ Cannabinoid rece[tor type 2 (CB2R) ในร่างกายเรา เช่น แคนนาบินอยด์ในสมอง ถ้าร่างกายผลิตมันได้อย่างเหมาะสม ก็จะช่วยให้คลายความกังวล ลดความเศร้า ทีนี้น่าจะพอเข้าใจกันแล้วว่าทำไมมนุษย์สูบกัญชาแล้วจึงได้รับผลของแคนนาบินอยด์ เพราะมนุษย์เราก็ผลิตได้บางส่วน และมีตัวรับอยู่ในร่างกายของทุกๆ คนนั่นเองเนื่องจากในกัญชา จะมี THC ประกอบอยู่ถึง 12% และมี CBD เพียงไม่ถึง 0.30% เท่านั้น การสูบโดยตรงเพื่อรักษาโรคที่ CBD ทำได้นั้น ล้วนแต่ทำให้ร่างกายได้รับแต่ THC มากเกินไปเสียเปล่าๆ การจะใช้งาน CBD ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงต้องอาศัยการสกัดมันออกมา นั่นหมายถึงการนำกัญชาเข้าสู่กระบวนการอุตสาหกรรมแปรรูปเสียก่อน ซึ่งเป็นเรื่องที่คนทั่วไปนั้นแทบจะทำไม่ได้

สารสำคัญในกัญชา

สาร THC คืออะไร สารในกัญชามีชื่อเรียกอีกอย่างว่า สารแคนนาบินอยด์ มีทั้ง THC และ CBD

สารแคนนาบินอยด์ (Cannabinoid) เป็นกลุ่มสารที่พบในพืชกัญชามีสารอยู่หลายชนิด เเต่ที่มีข้อมูลใช้ทางการแพทย์มีสองชนิดคือ สาร THC คืออะไรมีประโยชน์อย่างไร

  1. Tetrahydrocannabinol (THC)
  2. Cannabidiol (CBD)
  3. พบได้ทั้งในกัญชาและกัญชง
  4. สาร THC จะพบมากในต้นกัญชา
  5. กัญชาแต่ละพันธุ์จะมีระดับสาร THC และ CBD แตกต่างกันด้วยเช่นกัน

สาร THC

  • ลดอาการปวด ลดการเกร็งของกล้ามเนื้อ ลดอาการคลื่นไส้
  • ใช้ระดับสูงทำให้มีอาการเมาเคลิ้ม ใจสั่น หน้ามืด เห็นภาพหลอน รบกวนการรับรู้การตัดสินใจ ความจำเสื่อมทั้งระยะสั้นและยาว
  • ใช้สาร THC ระดับสูงต่อเนื่องทำให้เกิดภาวะดื้อต่อสาร ต้องมีการเพิ่มขนาด เกิดการติดยาได้
  • THC จัดเป็นสารเสพติดประเภทที่ 1 (องค์การอนามัยโลก) มีฤทธิ์ต่อจิตประสาท (Psychoactive) ทำให้เคลิบเคลิ้ม ผ่อนคลาย ทำให้ง่วง หลับง่าย กระตุ้นการอยากอาหาร ต้านปวด ต้านอาเจียน และคลายกล้ามเนื้อ แต่ทำให้เสพติดได้

สาร CBD

  • ออกฤทธิ์ตรงข้ามกับ THC
  • CBD ไม่ทำให้เสพติด ไม่ให้เมา ซึมหรือร่างกายไม่ทำตามที่สมองสั่ง
  • อาจทำให้บางรายนอนหลับได้ เพิ่มความอยากอาหาร อารมณ์ดี
  • มีการศึกษาใช้สาร CBD เพื่อควบคุมอาการชักและอาการปวด
  • ฤทธิ์ข้างเคียง CBD พบได้บ้าง เช่น อุจจาระร่วง อ่อนเพลีย คลื่นไส้ ตัวเบา
  • สาร CBD ยังไม่พบว่าทำให้เกิดการดื้อหรือติด
  • CBD ไม่จัดเป็นยาเสพติด ไม่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท (Non-psychoactive) ไม่ทำให้มึนเมา ออกฤทธิ์เพื่อการคลายเครียด สามารถใช้ประโยชน์ได้หลากหลายทั้งเป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพร ยา และอาหาร

กัญชา ใครบ้างที่ต้องระวัง!

ทำความรู้จักกับสาร THC คืออะไร กลุ่มที่ควรหลีกเลี่ยง และเสี่ยงเกิดอันตรายหากบริโภคกัญชาและกัญชง ได้แก่ เด็กเล็ก ผู้หญิงตั้งครรภ์ และคุณแม่ที่ให้นมบุตร เนื่องจากเด็กและเยาวชนมีโอกาสเสพติดกัญชา และยังส่งผลกระทบต่อพัฒนาการของสมอง ในผู้หญิงตั้งครรภ์ และคุณแม่ที่กำลังให้นมบุตรอยู่ ควรหลีกเลี่ยงการบริโภคด้วยเช่นกัน เพราะส่งผลโดยตรงต่อทารกในครรภ์และผ่านทางการให้น้ำนมแม้ว่าปัจจุบัน ประเทศไทยจะอนุญาตให้ปลูกตามบ้านได้แล้ว โดยสามารถใช้ส่วนประกอบของพืช ยกเว้น ช่อ ดอก ยาง น้ำมัน ในการทำอาหาร ซึ่งถือเป็นส่วนที่ห้ามใช้เนื่องจากมีสารเสพติดที่ออกฤทธิ์ต่อระบบสมองและหลอดเลือด สาร THC หมายถึงอะไรในการแพทย์ การนำส่วนใดส่วนหนึ่งของกัญชา กัญชง ไปสกัดเพื่อให้ได้สาร THC หรือ Tetrahydrocannabinol ยังคงต้องแจ้งขออนุญาตผลิตสกัดตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติด (ยกเว้นการสกัดจากเมล็ด) โดยสารสกัดที่มี THC ไม่เกิน 0.2% จะได้รับการยกเว้นไม่เป็นยาเสพติดให้โทษ

กัญชาและกัญชง มีทั้งประโยชน์และโทษ เราควรทำความเข้าใจถึงประโยชน์และโทษในการบริโภค ระมัดระวังในการใช้ความร้อนในการปรุงเพื่อนำมาบริโภค และควรใช้ในปริมาณที่เหมาะสมจึงจะมีประโยชน์ในทางการแพทย์

ข้อดี ข้อเสียของกัญชา

ข้อดีของกัญชา

  1. หากคุณกำลังเบื่ออาหาร มีความอยากอาหารน้อยลง การรับประทานกันชาสามารถช่วยให้คุณมีความอยากอาหารมากขึ้น
  2. รู้สึกไม่สบาย มีอาการวิงเวียนหัวคลื่นไส้อาเจียน การรับประทานกันชาสามารถบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน
  3. ในใบกัญชามีสาร Cannabinoids หากผู้ที่มีอาการซึมเศร้าได้สารรับตัวนี้ สามารถลดพฤติกรรมรุนแรงทางด้านอารมณ์ลงได้
  4. ในงานวิจัยได้ค้นพบว่า สาร THC ที่อยู่ในใบกัญชาสามารถป้องกันโรคอัลไซเมอร์
  5. กัญชาทำให้เนื้องอกเนื้อร้ายอย่างมะเร็งหดเหี่ยวลดลงได้
  6. ผู้ที่นอนไม่ค่อยหลับ การรับประทานกัญชาจะช่วยให้คุณหลับสบายมากขึ้น

ข้อเสียของกัญชา

  1. เนื่องจากกัญชามีฤทธิ์กระตุ้นประสาท หากผู้เสพใช้ในปริมาณที่มากเกินไป อาจทำให้ผู้เสพมีอาการมึนเมาคล้ายเหล้า เห็นภาพหล่อน หูแวว หวาดระแวง ไม่สามารถควบคุมตัวเองได้
  2. ผู้ป่วยที่มีอาการทางจิต ไม่ควรเสพกัญชา เพราะจะส่งผลให้เกิดความสับสน วิตกกังวล สมาธิสั้น จนถึงขั้นเสียการทรงตัว
  3. การเสพกัญชาในปริมาณและติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน ส่งผลให้ร่างกายของคุณเสื่อมโทรมและอาจก่อให้เกิดโรคได้ง่ายขึ้น เช่น โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง น้ำหนักตัวลดลง ซูบผอม
  4. กัญชายังทำให้ปริมาณอสุจิในเพศชายลดน้อยลง เพราะมีฤทธิ์ที่ส่งผลต่อฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนของเพศชาย
  5. การสูบกัญชาในปริมาณ 4 ม้วน เทียบเท่ากับการสูบบุหรี่ 1 ซอง และยังมีความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้มากกว่าคนสูบบุหรี่สูงถึง 5 เท่า
กัญชาเป็นยารักษาโรค/ภาวะอาการที่สามารถใช้ยากัญชาได้

6 โรค/ภาวะอาการ ที่สารกัญชาได้ประโยชน์ในการรักษา โดยมีข้อมูลวิชาการสบับสนุนชัดเจน ภาวะคลื่นไส้อาเจียนในผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด

  • โรคลมชักที่รักษายาก และโรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษา
  • ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง ในผู้ป่วยปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
  • ภาวะเบื่ออาหารในผู้ป่วย AIDS ที่มีน้ำหนักน้อย
  • การเพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง หรือผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชีวิต

4 กลุ่มโรค / ภาวะ ที่น่าจะได้รับประโยชน์จากสารกัญชา แต่ยังต้องการงานวิจัยสนับสนุนเพิ่มเติม

  • โรคพาร์กินสัน
  • โรคอัลไซเมอร์
  • โรคปลอกประสาทอักเสบอื่น ๆ (ที่ไม่ใช่ปลอกประสาทเสื่อมแข็ง)
  • โรคอื่น ๆ ที่มีข้อมูลสนับสนุนทางวิชาการว่าน่าจะได้ประโยชน์
คนที่ไม่สามารถใช้ยากัญชาได้
  • กำลังตั้งครรภ์ หรือให้นมบุตร
  • มีความเสี่ยงสูงในการทำร้ายตนเอง
  • โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว โรคจิตจากสารเสพติด โรคจิตเภท
  • รับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือด
  • โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคตับ โรคไต ที่มีอาการรุนแรง
  • มีประวัติแพ้สารสกัดกัญชา

เว็บข่าวกัญชา :: weedbong420.com

เว็บไซต์แฟนเพจสนุก :: Weedzbong420